ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2014

ใบกิจกรรมกรณฑ์ที่สอง

ใบกิจกรรมที่  1.1 1.  จำนวนต่อไปนี้เป็นรากที่สองของจำนวนใด 1.    เป็นรากที่สอง …………… เพราะ ……………….                 2.  เป็นรากที่สอง ………… เพราะ ………………. 3.  0.7    เป็นรากที่สอง …………… เพราะ ………………. 4.  -14    เป็นรากที่สอง …………… เพราะ ……………….  5.   3    เป็นรากที่สอง ……………. เพราะ ………………. 6.  -11    เป็นรากที่สอง …………… เพราะ ………………. 2.  จำนวนใดบ้างเป็นรากที่สองของจำนวนต่อไปนี้                 1.  รากที่สอง  9  มีสองราก  คือ ………………. และ …………..                                                     หรือ          ………………  และ ………….. 2.  รากที่สอง  36 มีสองราก  คือ ………………. และ …………..                                                     หรือ          ………………  และ ………….. 3.  รากที่สอง  25  มีสองราก  คือ ………………. และ …………..                                                     หรือ          ………………  และ ………….. 4.  รากที่สอง  16  มีสองราก  คือ ………………. และ …………..                                                     หรือ          ………………  และ ………….. 5.  รากที่สอง  123  ม

ใบงานคณิตอสมการและความน่าจะเป็น

ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ค 2 3102  เปลี่ยนประโยคภาษาต่อไปนี้ให้เป็นประโยคสัญลักษณ์ ข้อ ประโยคภาษา ประโยคสัญลักษณ์ 1 จำนวนจำนวนหนึ่งลบด้วย 8 มากกว่า -3 2 ห้าเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งลบด้วย 8 มีค่าไม่น้อยกว่า 7 3 ครึ่งหนึ่งของจำนวนจำนวนหนึ่งน้อยกว่า 4 4 กำลังสองของจำนวนจำนวนหนึ่งมีค่าไม่เท่ากับ 9 5 สามเท่าของผลต่างของจำนวนจำนวนหนึ่งเท่ากับ 1 มีค่าไม่มากกว่า 12 1. จงเขียนแผนภาพต้นไม้ จากการโยนเหรียญสิบ 1 เหรียญ 2 ครั้ง และหาความน่าจะเป็นของ                 1.1 โอกาสในการเกิดหัวทั้งคู่                 1.2 โอกาสในการเกิดหัวและก้อย      วิธีทำ .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

กรณฑ์ที่สอง

สมบัติของ      เมื่อ   1. เมื่อ  a   แทนจำนวนจริงบวกใด ๆ  หรือศูนย์ ( เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   )  รากที่สองของ a     คือ จำนวนจริงที่ยกกำลังสองแล้วได้  a       ตัวอย่างเช่น                        0.3    เป็นรากที่สองของ 0.09    เพราะ  (0.3) 2   =   0.09                                                    4   เป็นรากที่สองของ   16   เพราะ   4 2   =   16   2 .  เมื่อ  a   เป็นจำนวนจริงบวก  รากที่สองของ  a  มีสองรากคือ  รากที่สองที่เป็นบวก  เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์     ( เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  กรณฑ์ที่สองของ  a ) และรากที่เป็นลบ  ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  -                 เมื่อ  a  =  0   รากที่สองของ  a   คือ  0       ตัวอย่างเช่น    รากที่สองของ  25   มีสองราก    และ -                                                                           หรือ     5      และ    -5                             รากที่สองของ    มีสองราก    และ  -                                                                                                                                           

แบบทดสอบสูตรการหาพื้นที่และสูตรการหาปริมาตร

แบบทดสอบสูตรการหาพื้นที่ และสูตรการหาปริมาตร สูตรการหาพื้นที่ฐาน สูตร    การหาพื้นที่ของรูปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส    =   ……………………………………………….. สูตร    การหา พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า   =   ……………………………………………….. สูตร    การหา พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน    =   ……………………………………… สูตร    การหา พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู    =   ………………………………………… สูตร    การหาพื้นที่ของรูป สามเหลี่ยม   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาพื้นที่ของรูป วงกลม   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาความยาวของเส้นรอบวง   =   ……………………………………………….. สูตรการหาปริมาตร สูตร    การหาปริมาตรของปริซึมใด ๆ   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาปริมาตรของทรงกระบอก   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาปริมาตรของทรงกรวย   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาปริมาตรของทรงพีระมิด   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาปริมาตรของทรงกลม   =   ……………………………………………….. สูตร    การหาปริมาตรของครึ่งทรงกลม   =   ……………………………………………….. ชื่อ - สกุล ……………………………

พื้นที่ผิวของทรงกระบอก

พื้นที่ผิวของทรงกระบอก พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานทั้งสอง                                              =                                               =  ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก ต้องการหาพื้นที่ของทรงกระบอกอันหนึ่ง ที่มีความสูงเป็น 10 เซ็นติเมตร และรัศมี 2 เซ็นติเมตร ทรงกระบอกอันนี้มีพื้นที่เท่าไร       วิธีทำ             จากสูตร  พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานทั้งสอง                                              =                                               =                                                = 2 x 3.14 x 2 x ( 2 + 10 )                                              = 150.72             ดังนั้น ทรงกระบอกอันนี้มีพื้นที่เป็น 150.72 ตารางเซ็นติเมตร       ตอบ  ทรงกระบอกนี้มีพื้นที่ 150.72 ตารางเซ็นติเมตร

พื้นที่ผิวของปริซึม

พื้นที่ผิวของปริซึม ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ผิวของปริซึม       จากรูปที่กำหนดให้ จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรพื้นที่ผิวของปริซึม =  พื้นที่ผิวข้างทั้งหมด + พื้นที่ฐานทั้งสอง                                                               = [(6 x 9)(2) + (9 x 8)(2)] + [(6 x 8)(2)]                                                           = (108 + 144) + 96                                                           = 348                 ดังนั้น พื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้ คือ 348 ตารางเซ็นติเมตร       ตอบ  ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้มีพื้นที่ผิวทั้งหมด  348 ตารางเซ็นติเมตร จากรูปที่กำหนดให้ จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสามเหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรพื้นที่ผิวของปริซึม =  พื้นที่ผิวข้างทั้งหมด + พื้นที่ฐานทั้งสอง                                                               = [(6 x 6) + (6 x 5)(2)] + [(  1  x 6 x 4)(2)]