ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ใบกิจกรรมเรื่องอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 คำชี้แจง ให้นักเรียนทำกิจกรรมตามที่กำหนดให้ต่อไปนี้
        1. เขียนประโยคสัญลักษณ์แทนประโยคภาษาในแต่ละข้อต่อไปนี้
                1) สองเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับหกมากกว่าสิบห้า
                   เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ...............................................................................
                2) จำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับสิบน้อยกว่าหรือเท่ากับยี่สิบห้า
                   เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ...............................................................................
                3) สามเท่าของผลต่างจำนวนจำนวนหนึ่งกับเก้ามากกว่าหรือเท่ากับห้าสิบห้า
                   เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ...............................................................................
                4) สองเท่าของผลบวกของจำนวนจำนวนหนึ่งกับสิบเก้ามีค่าไม่เกินสามสิบ
                   เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ...............................................................................
                5) ผลบวกของจำนวนจำนวนหนึ่งกับสิบสาม เมื่อหารด้วยสามมีค่าไม่มากกว่าเจ็ด
                   เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ...............................................................................
          2. ขีดหน้าข้อประโยคที่เป็นอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และ หน้าข้อประโยคที่ไม่เป็นอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
                  ............. 1) 2x + 3 = 8
                  ............... 2) 5 + 3d < 24
                  ............. 3) 4(x – 1) ≠ 12
                  ............... 4) y2 = 49
                  ............. 5) 6x + 1 ≥ x - 6
                  ............... 6) y2- 4 ≤ 21
                  ............. 7) -2x + 4 > 15
                  ............... 8) x - 2 = 16
                  ............. 9) 3 – x = -(x – 2)
                  ............. 10) x ÷ 9 < 12

 ชื่อ – สกุล……………………………………………………….ชั้น……………..เลขที่……………

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปริมาตรปริซึม

ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม      ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm.               ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย               แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง                                                       = ก x ย x ส                                                       = 4 x 8 x 15                                                       = 480        ตอบ ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้มีปริมาตร คือ 480 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร     ปริซึมสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง สูง 15 เซ็นติเมตร มีความยาวฐาน 6 เซ็นติเมตร และส่วนสูงของฐาน 5  เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสามเหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จาก

เลขยกกำลัง ตัวอย่าง 5 (math logarithm)

คำถาม จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1   พร้อมทั้งบอกฐาน และเลขชี้กำลัง                          0.0025 เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ …………………………………… ฐาน  คือ.................................................................................... เลขชี้กำลัง คือ ...……………………………………………… ตอบ เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ   0.05 2 ฐาน  คือ     0.05 เลขชี้กำลัง คือ    2

ประพจน์ (Propositions หรือ Statements)

ประพจน์ ( Propositions  หรือ Statements ) ประพจน์  คือ  ประโยคหรือข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ประโยคหรือข้อความที่มีลักษณะดังกล่าวจะอยู่ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธก็ได้ ตัวอย่างประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์             1.   สกลนครเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคเหนือของไทย               (เท็จ)             2.  2 + 3 = 5                                                                             (จริง)             3.  แมวเป็นสัตว์ที่มีสองขา                                                      (เท็จ)             4.  เดือนมิถุนายนมี 30 วัน                                                        (จริง)             5.  9 หารด้วย 3 ลงตัว                                                              (จริง) จากตัวอย่างข้างต้น  การเป็นจริงหรือเท็จ (true or false)ในทางตรรกศาสตร์   ของแต่ละประพจน์   เรียกว่า   ค่าความจริงของประพจน์ (truth - value) ข้อความที่ไม่ได้อยู่ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธ จะไม่เป็นประพจน์  เช่น  ประโยคคำถา