การเชื่อมประพจน์ (conjunction
statement)
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การเชื่อมประโยคในทางคณิตศาสตร์
อาจเชื่อมด้วยคำว่า “และ” “หรือ” “ถ้า…แล้ว” “ก็ต่อเมื่อ” หรือพบประโยคเดิมแต่เติมคำว่า “ไม่” คำเหล่านี้เรียกว่า ตัวเชื่อม
(connectives) เช่น
ถ้า 12 เป็นเลขคู่ แล้ว
12
หารด้วย 2 ลงตัว
แมวมีขา 4 ขา และ ไก่มีขา
2 ขา
ในการศึกษาประโยคที่เป็นประพจน์นั้น
เพื่อให้สะดวกเรานิยมใช้ตัวอักษร
ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น
p,
q, r, … แทนประพจน์ และค่าความจริงของประพจน์ จะใช้
T แทน จริง และ
F แทน
เท็จ
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ถ้ามีประพจน์เพียงประพจน์เดียว เช่น p จะมีค่าความจริงของประพจน์
ที่อาจเกิดขึ้นได้อยู่ 2 กรณี คือ T
หรือ F
ถ้ามีสองประพจน์ เช่น
p และ
q จะมีค่าความจริงของประพจน์
ที่อาจเกิดขึ้นได้อยู่ 4 กรณี คือ
ถ้ามีสามประพจน์ เช่น
p, q และ r จะมีค่าความจริง
ของประพจน์ที่อาจเกิดขึ้นได้อยู่ 8 กรณี คือ
|
ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้ วิธีทำ จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm. ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง = ก x ย x ส ...
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น