ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า…แล้ว…” (math conjunction statement)

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม ถ้าแล้ว…”
พิจารณาประพจน์ต่อไปนี้    3 + 4  =  4 + 3  กับประพจน์   2(1 + 3) = (2 x 1) + (2 x 3)
หากเราเชื่อมประพจน์ทั้งสองด้วยตัวเชื่อม  ถ้า…แล้ว…”  จะได้ประพจน์ใหม่  คือ
     ถ้า     3 + 4  =  4 + 3    แล้ว   2(1 + 3) = (2 x 1) + (2 x 3)
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม  ถ้า…แล้ว…”  ประพจน์ใหม่จะเป็นเท็จได้ในกรณีที่
ประพจน์แต่ละประพจน์ที่นำมาเชื่อมกันนั้นเป็นจริงแล้วเท็จ  ส่วนกรณีอื่น ๆ นั้น
จะเป็นจริงทุกกรณี  
     ถ้า  และ  เป็นประพจน์  เมื่อเชื่อมประพจน์ทั้งสองด้วยตัวเชื่อม  ถ้า…แล้ว…”  
ประพจน์ใหม่ที่ได้  คือ  ถ้า  แล้ว  q”  เขียนแทนด้วย  p
       
         ตารางแสดงค่าความจริง (truth  table) ของ  p เขียนได้ดังนี้

p
q
p
T
T
T
T
F
F
F
T
T
F
F
T







จากตารางแสดงค่าความจริง  หากต้องการหาค่าความจริงของประพจน์  
เมื่อประพจน์นั้นเชื่อมด้วยตัวเชื่อม  ถ้า…แล้ว…”  เราจะพิจารณาว่าค่าความจริง
ของประพจน์ที่นำมาเชื่อมนั้นตรงกับกรณีใด  
       เช่น  ถ้า  3 + 4  =  1 + 3    แล้ว   2(1 + 3) = (3 x 1) + (2 x 3)
เราจะต้องพิจารณาค่าความจริงของประพจน์  “3 + 4  =  1 + 3”  และ 
“2(1 + 3) = (3 x 1) + (2 x 3)”  โดยค่าความจริงของประพจน์  3 + 4  =  1 + 3  คือ  เท็จ 
และค่าความจริงของประพจน์  2(1 + 3) = (3 x 1) + (2 x 3)  คือ  เท็จ  ดังนั้นค่าความจริง
ของประพจน์  ถ้า  3 + 4  =  1 + 3    แล้ว   2(1 + 3) = (3 x 1) + (2 x 3)  คือ  จริง
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปริมาตรปริซึม

ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม      ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm.               ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย               แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง                                                       = ก x ย x ส                                       ...

เลขยกกำลัง ตัวอย่าง 5 (math logarithm)

คำถาม จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1   พร้อมทั้งบอกฐาน และเลขชี้กำลัง                          0.0025 เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ …………………………………… ฐาน  คือ.................................................................................... เลขชี้กำลัง คือ ...……………………………………………… ตอบ เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ   0.05 2 ฐาน  คือ     0.05 เลขชี้กำลัง คือ    2

สถิติ (ค่าเฉลี่ยเลขคณิต) ตัวอย่าง 1

คำถาม ข้อมูลชุดหนึ่งเป็นดังนี้     11, 8, 20, 6, 22, 25, 31, 40   ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เป็นเท่าใด          1. 20.35                         2. 20.36          3. 20.38                         4. 20.39 วิธีทำ         ค่าเฉลี่ยเลขคณิต     =   ผลบวกของข้อมูลทั้งหมด                                              จำนวนของข้อมูลทั้งหมด   ...