ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ความน่าจะเป็น Probability (เหตุการณ์ event)

  ความน่าจะเป็น (Probability)


เหตุการณ์ (event)

          เหตุการณ์ คือ สิ่งที่เราสนใจจากการทดลองสุ่มนั้น ๆ หรือเป็นสิ่งที่เราสนใจเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด จากสมาชิกของแซมเปิลสเปซ โดยมีสัญลักษณ์ที่ใช้แทน คือ E  และสมาชิกในเหตุการณ์เขียนในรูปแบบเซต

ตัวอย่างของเหตุการณ์

                   โยนเหรียญบาท 1 เหรียญ 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ หัว (H)

                   S = {H, T}

                   E = {H}

                   ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ ได้แต้มเป็นเลขคู่

                   S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}

                   E = {2, 4, 6}

                   หยิบบอล 1 ลูก จากกล่องที่มีบอล 3 ลูก ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ หยิบได้บอลลูกที่ 1

                   S = {1, 2, 3}

                   E = {1}

จากตัวอย่างของเหตุการณ์  จะเห็นได้ว่า E เป็นสับเซตของ S


ฝึกสมอง ลองความไว กับแอป QMath เล่นง่าย สนุกกับการเรียนรู้ สามารถดาวน์โหลดแอปได้ที่ลิงค์ด้านล่างเลยนะคะ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปริมาตรปริซึม

ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม      ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm.               ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย               แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง                                                       = ก x ย x ส                                       ...

เลขยกกำลัง ตัวอย่าง 5 (math logarithm)

คำถาม จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1   พร้อมทั้งบอกฐาน และเลขชี้กำลัง                          0.0025 เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ …………………………………… ฐาน  คือ.................................................................................... เลขชี้กำลัง คือ ...……………………………………………… ตอบ เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ   0.05 2 ฐาน  คือ     0.05 เลขชี้กำลัง คือ    2

สถิติ (ค่าเฉลี่ยเลขคณิต) ตัวอย่าง 1

คำถาม ข้อมูลชุดหนึ่งเป็นดังนี้     11, 8, 20, 6, 22, 25, 31, 40   ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เป็นเท่าใด          1. 20.35                         2. 20.36          3. 20.38                         4. 20.39 วิธีทำ         ค่าเฉลี่ยเลขคณิต     =   ผลบวกของข้อมูลทั้งหมด                                              จำนวนของข้อมูลทั้งหมด   ...