การอ้างเหตุผล
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวอย่างที่ 8 กำหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ จงพิจารณาว่า
การอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ 1. p → q
2. q → r
ผล r
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีทำ รูปแบบของประพจน์คือ [(p→q)ʌ(q→r)]→ r
ค่าความจริงที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งหมด มี 8 กรณี จะได้ตารางค่าความจริง ดังนี้
รูปแบบของประพจน์คือ
[(p→q)ʌ(q→r)]→ r ไม่เป็นสัจนิรันดร์
ดังนั้น รูปแบบของประพจน์คือ [(p→q)ʌ(q→r)]→ r เป็นการอ้างเหตุผล
ที่ไม่สมเหตุสมผล
|
ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้ วิธีทำ จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm. ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง = ก x ย x ส ...
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น