ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ตรรกศาสตร์ (mathematical logic) การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "ก็ต่อเมื่อ"

 ตรรกศาสตร์ (mathematical logic) 

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "ก็ต่อเมื่อ"


ถ้า  p  และ  q  เป็นประพจน์  เมื่อเชื่อมประพจน์ทั้งสองด้วยตัวเชื่อม  “ก็ต่อเมื่อ”  
ประพจน์ใหม่ที่ได้  คือ   p  ก็ต่อเมื่อ  q”  เขียนแทนด้วย  p ⟷ 

 ตารางแสดงค่าความจริง (truth  table) ของ   q  เขียนได้ดังนี้

p
q
 
T
T
T
T
F
F
F
T
F
F
F
T







จากตารางแสดงค่าความจริง  หากต้องการหาค่าความจริงของประพจน์  
เมื่อประพจน์นั้นเชื่อมด้วยตัวเชื่อม  ก็ต่อเมื่อ”  เราจะพิจารณาว่าค่าความจริง
ของประพจน์ที่นำมาเชื่อมนั้นตรงกับกรณีใด  
       เช่น    ปลาว่ายน้ำได้    ก็ต่อเมื่อ   นกไม่มีปีก
เราจะต้องพิจารณาค่าความจริงของประพจน์  ปลาว่ายน้ำได้  และ 
นกไม่มีปีก”  โดยค่าความจริงของประพจน์  ปลาว่ายน้ำได้  คือ  จริง
และค่าความจริงของประพจน์  นกไม่มีปีก  คือ  เท็จ  ดังนั้นค่าความจริง
ของประพจน์  ปลาว่ายน้ำได้    ก็ต่อเมื่อ   นกไม่มีปีก  คือ  เท็จ

 ฝึกสมอง ลองความไว กับแอป QMath เล่นง่าย สนุกกับการเรียนรู้ สามารถดาวน์โหลดแอปได้ที่ลิงค์ด้านล่างเลยนะคะ

https://play.google.com/store/apps/details?id=com.pro45.qmath

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปริมาตรปริซึม

ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม      ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm.               ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย               แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง                                                       = ก x ย x ส                                                       = 4 x 8 x 15                                                       = 480        ตอบ ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้มีปริมาตร คือ 480 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร     ปริซึมสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง สูง 15 เซ็นติเมตร มีความยาวฐาน 6 เซ็นติเมตร และส่วนสูงของฐาน 5  เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสามเหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จาก

เลขยกกำลัง ตัวอย่าง 5 (math logarithm)

คำถาม จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1   พร้อมทั้งบอกฐาน และเลขชี้กำลัง                          0.0025 เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ …………………………………… ฐาน  คือ.................................................................................... เลขชี้กำลัง คือ ...……………………………………………… ตอบ เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ   0.05 2 ฐาน  คือ     0.05 เลขชี้กำลัง คือ    2

ประพจน์ (Propositions หรือ Statements)

ประพจน์ ( Propositions  หรือ Statements ) ประพจน์  คือ  ประโยคหรือข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ประโยคหรือข้อความที่มีลักษณะดังกล่าวจะอยู่ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธก็ได้ ตัวอย่างประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์             1.   สกลนครเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคเหนือของไทย               (เท็จ)             2.  2 + 3 = 5                                                                             (จริง)             3.  แมวเป็นสัตว์ที่มีสองขา                                                      (เท็จ)             4.  เดือนมิถุนายนมี 30 วัน                                                        (จริง)             5.  9 หารด้วย 3 ลงตัว                                                              (จริง) จากตัวอย่างข้างต้น  การเป็นจริงหรือเท็จ (true or false)ในทางตรรกศาสตร์   ของแต่ละประพจน์   เรียกว่า   ค่าความจริงของประพจน์ (truth - value) ข้อความที่ไม่ได้อยู่ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธ จะไม่เป็นประพจน์  เช่น  ประโยคคำถา