ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

จำนวนจริง(จำนวนตรรกยะ)

 จำนวนตรรกยะ

เซตของจำนวนตรรกยะ คือ เซตของจำนวนที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ 

ถ้าให้ Q แทน เซตของจำนวนตรรกยะ 
Q = { xlx = a/b ; a, b ∈ 𝙸 และ b ≠ 0 }

จำนวนตรรกยะ ประกอบด้วย จำนวนเต็ม (𝙸) โดยจำนวนเต็มแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ จำนวนเต็มลบ (𝙸⁻จำนวนเต็มศูนย์ (𝙸⁰จำนวนเต็มบวก (𝙸⁺)

พิจารณาจำนวนเต็มบนเส้นจำนวน 

จำนวนเต็มลบ (𝙸⁻) = { ... , -3, -2, -1 }
จำนวนเต็มศูนย์ (𝙸⁰) = 0
จำนวนเต็มบวก (𝙸⁺) หรือจำนวนนับ = { 1, 2, 3, ... }

จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม คือ จำนวนที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน หรือทศนิยมซ้ำ เช่น  1/4 หรือ 0.25, -23/10 หรือ -2.3, 1/3 หรือ 0.3333... หรือ 

 ฝึกสมอง ลองความไว กับแอป QMath เล่นง่าย สนุกกับการเรียนรู้ สามารถดาวน์โหลดแอปได้ที่ลิงค์ด้านล่างเลยนะคะ

https://play.google.com/store/apps/details?id=com.pro45.qmath

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปริมาตรปริซึม

ปริมาตรปริซึม ตัวอย่างการคำนวณปริมาตรปริซึม      ปริซึมสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง กว้าง 4 เซ็นติเมตร ยาว 8 เซ็นติเมตร และสูง 15 เซ็นติเมตร  จงหาปริมาตรปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรการหาปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง               จากรูป ฐานของรูปปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 cm. และยาว 8 cm.               ดังนั้น พื้นที่ฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ก x ย               แทนค่าตามสูตรปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง                                                       = ก x ย x ส                                       ...

เลขยกกำลัง ตัวอย่าง 5 (math logarithm)

คำถาม จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1   พร้อมทั้งบอกฐาน และเลขชี้กำลัง                          0.0025 เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ …………………………………… ฐาน  คือ.................................................................................... เลขชี้กำลัง คือ ...……………………………………………… ตอบ เขียนในรูปเลขยกกำลัง คือ   0.05 2 ฐาน  คือ     0.05 เลขชี้กำลัง คือ    2

พื้นที่ผิวของปริซึม

พื้นที่ผิวของปริซึม ตัวอย่างการคำนวณหาพื้นที่ผิวของปริซึม       จากรูปที่กำหนดให้ จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมรูปนี้       วิธีทำ               จากสูตรพื้นที่ผิวของปริซึม =  พื้นที่ผิวข้างทั้งหมด + พื้นที่ฐานทั้งสอง                                                               = [(6 x 9)(2) + (9 x 8)(2)] + [(6 x 8)(2)]                                                           = (108 + 144) + 96                                                       ...